ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบวงจรไฟฟ้า กฎพื้นฐาน การวิเคราะห์วงจรด้วยวิธีโนดและวิธีเมช ทฤษฎีบทวงจร ความต้านทาน ความเหนี่ยวนํา ความเก็บประจุ วงจรอันดับหนึ่ง วงจรอันดับสอง สัญญาณไซน์และเฟสเซอร์ การวิเคราะห์สัญญาณไซน์ในช์วงสถานะคงตัว วงจรกําลังไฟฟ้ากระแสสลับ และระบบไฟฟ้าสามเฟส

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์  ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมในปัจจุบัน

Study and practice of computer concepts, computer components, hardware and software interaction, current programming language, programming practices.

วิชา ENGCE162 สัญญาณและระบบ (Signals and Systems)   ภาค 1/2564

กลุ่มเรียน Sec_1_วศ.บ.คพ., ชั้นปีที่ 3-4,           ผู้สอน: อ.ยุพดี หัตถสิน

ทฤษฎี 3 คาบ: เรียนทฤษฎี เวลา 14.00-17.00น. ทุกวันพฤหัสบดี ณ อาคาร ทค.1 ห้อง ทค.1-101

เวลาสอบกลางภาค: เสาร์ 14 สิงหาคม 2564 เวลา 08.00 ถึง 11.00

 

เวลาสอบปลายภาค: เสาร์ 16 ตุลาคม 2564 เวลา 08.00 ถึง 11.00

ชื่อ/สกุล................................................................................รหัส............................................

 

วิชา ENGCE162 สัญญาณและระบบ (Signals and Systems)   ภาค 1/2564

กลุ่มเรียน Sec_1_วศ.บ.คพ., ชั้นปีที่ 3-4,           ผู้สอน: อ.ยุพดี หัตถสิน

ทฤษฎี 3 คาบ: เรียนทฤษฎี เวลา 14.00-17.00น. ทุกวันพฤหัสบดี ณ อาคาร ทค.1 ห้อง ทค.1-101

เวลาสอบกลางภาค: เสาร์ 14 สิงหาคม 2564 เวลา 08.00 ถึง 11.00

เวลาสอบปลายภาค: เสาร์ 16 ตุลาคม 2564 เวลา 08.00 ถึง 11.00

 

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์  ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมในปัจจุบัน

Study and practice of computer concepts, computer components, hardware and software interaction, current programming language, programming practices.

วิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์(สาขาทั่วไป ไม่ใช่วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียนรู้ของเครื่องและทฤษฎีการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบมีผู้สอน การแบ่งประเภท การถดถอย ค่าผิดปกติ ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน การเลือกแบบจำลองและคุณลักษณะ การลดขนาดมิติของข้อมูล ต้นไม้ตัดสินใจ การเรียนรู้แบบไม่มีผู้สอน การจัดกลุ่ม การเรียนรู้แบบเสริมกำลัง ข่ายงานประสาทเทียม การเรียนรู้เชิงลึก

Study and practice of Introduction and Learning theory, Supervised learning, Classification, Regression, Outliers, Support Vector Machines, Model Selection and Feature Selection, Dimensionality Reduction, Decision Trees, Unsupervised Learning, Clustering, Reinforcement Learning, Artificial Neural Networks, Deep Learning.



ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการทบทวนและออกแบบผังงานและเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูง เน้นความเข้าในเกี่ยวกับฟังก์ชันพอยน์เตอร์ การจัดสรรหน่วยความจำแบบไดนามิค ประยุกต์ใช้พอยเตอร์ในการจัดการลิงค์ลิสต์ การจัดการไฟล์ข้อมูลพื้นฐาน อัลกอริทึมเทคนิค เช่น Divide and conquer, Greedy, Dynamic Algorithm Programming, Backtracking เป็นต้น รวมถึงการแก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมในปัจจุบัน